1 มุมมองของสังคมออนไลน์: ทำให้รักและทำต่อไป | Social Aspect Online Community (Social Network) : Be love and to be continue | สมปอง มิสสิตะ | PULINET Journal

มุมมองของสังคมออนไลน์: ทำให้รักและทำต่อไป | Social Aspect Online Community (Social Network) : Be love and to be continue

สมปอง มิสสิตะ

Abstract


หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร นำเฟซบุ๊คมาใช้เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2552 ผู้ศึกษานำแนวคิดทฤษฎีจากข้อมูล (grounded in theory) มาประยุกต์เพื่อศึกษาจำนวนการตั้งสถานะ ปฏิสัมพันธ์ในเฟซบุ๊ครวมทั้งเนื้อหา และเพื่อนำผลจากการศึกษาไปหาสื่อสังคมออนไลน์อื่นมาพัฒนางาน โดยรวบรวมข้อมูลในเฟซบุ๊คของหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2555–31 มิถุนายน พ.ศ.2556 ผลการศึกษาพบว่า จากจำนวน 365 วัน มีการตั้งสถานะ 263 ครั้ง เดือนที่มากที่สุดคือ มกราคม จำนวน 52 ครั้ง เดือนที่น้อยที่สุดคือ ธันวาคม การตั้งสถานะที่นิยมใช้มากที่สุดคือ มีข้อความและรูปภาพ จำนวน 1,849 รูป 198 ข้อความ การตอบรับพบว่า เดือนมกราคม มีการตอบรับมากที่สุดในทุกรูปแบบ (ชอบ ความเห็น และแบ่งปัน) เนื้อหาการตั้งสถานะที่นิยมใช้มากที่สุดคือ  กิจกรรมห้องสมุด สื่อสังคมออนไลน์อื่นที่นำมาพัฒนาคือ การสร้างเว็บบล็อกเพื่อเล่าเรื่องหนังสือ และการสร้าง Pinterest เพื่อนำเสนอรูปภาพ

Sanamchandra Palace Library, Silapakorn University launched the most popular online application, Facebook, to use on 15 September 2009.  Grounded theory was applied to study the amount of timeline status and interactive message on the Facebook and in order to develop the result via other online networks by collecting Facebook messages of Sanamchandra Palace Library, Silapakorn University during 1 July 2012 to 31 June 2013. The result shows that there are 263 status added during 365 days and the highest timeline status was 52 times in January and the lowest was in December. The most popular timeline status was 1,849 photos and 198 messages.  The most feedback was in January in any categories, such as, likes, suggestions and shares.  The most popular timeline status was the library activities.  Other developed online network was story telling web block and Pinterest creator to present pictures.


Full Text:

PDF

References


เทอดศักดิ์ ไม้เท้าทอง. (2554, กรกฎาคม-ธันวาคม). การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊ค (Facebook) ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา.อินฟอร์เมชั่น, 18 (2): 42-54

ไพโรจน์ วิไลนุช. การสร้างทฤษฎีฐานราก:อีกหนึ่งวิธีวิทยาเพื่อการพัฒนาองค์ความรู้นิเทศศาสตร์.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://utcc2.utcc.ac.th/localuser/amsar/about/document14.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 18 กรกฎาคม 2556).

สุวิดา ธรรมมณีวงศ์, จักรนาท นาคทอง. (2555).รายงานการวิจัยเรื่องเว็บล็อกในฐานะสื่อการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ของชุมชนคนรุ่นใหม่. นครปฐม:สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Bakardjieva, M. , Gaden, G. (2011). “Web 2.0 Technology of the self”. Philos. Technol., 25,

Pong Missita. (2009). “Twitter and Facebook”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://www.snc.lib.su.ac.th/snclibblog/?p=8730. (วันที่ค้นข้อมูล : 30 สิงหาคม 2556)


Refbacks

  • There are currently no refbacks.



PULINET Journal : eISSN 2351- 048X
ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค
PULINET: Provincial University Library Network
pulinetjournal@gmail.com